วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน

วิธีการดำเนินงาน

การจัดทำโครงงานถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ เพื่อนำขยะหรือสิ่งที่เราไม่ใช่แล้วนำกลับมาประดิษฐ์สิ่งของแล้วนำมาประยุกต์กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เข้ากับโลกในปัจจุบัน ให้ทุกคนเห็นคุณค่าของที่เหลือใช้แล้วสามารถนำมาทำประโยชน์ได้อีก อีกอย่างยังช่วยลดการทำลายป่าไม้ ที่เป็นต้นเหตุให้โลกของเราร้อนขึ้นทุกวัน ซึ่งมีวิธีการดำเนินขึ้นตอนดังนี้
1.ศึกษาเอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
2.ศึกษาหลักการและแนวทางในการออกแบบ
3.ดำเนินการออกแบบตามแนวทางที่ดำเนินไว้
4.ปฏิบัติการสร้างโครงงานตามแผนที่วางไว้
5.ทดสอบและปรับปรุงโครงงานคือมีการทดสอบกี่ครั้งและมีวิธีการแก้ไข อย่างไรบ้าง
6.การประเมินโครงงาน เอาแบบประเมินโครงงานมาใส่
7.นำเสนอโครงงาน

1.ศึกษาเอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
การรีไซเคิลทำให้โลกมีจำนวนขยะลดน้อยลงและช่วยลดปริมาณการนำทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมให้น้อยลงลดการถลุงแร่บริสุทธิ์และลดปริมาณการโค่นทำลายป่าไม้ลงด้วยการหมุนเวียนนำมาผลิตใหม่ดังนั้นทางผู้จัดทำได้เล็งเห็นความสำคัญของการทิ้งขยะไม่ลงถังดังนั้นคณะผู้จัดทำจึงได้ประดิษฐ์ถังขยะเซ็นเซอร์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้และเป็นอัตโนมัติขึ้น

2.ศึกษาหลักการและแนวทางในการออกแบบ
การจัดทำโครงงานถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะแบบอัตโนมัติผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาหลักการและแนวทางในการออกแบบ

ศึกษาหลักการ
การจัดทำโครงงานถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะแบบอัตโนมัติผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาหลักการจัดทำถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะแบบอัตโนมัติ ซึ่งมีหลักการทำงาน วัสดุอุปกรณ์ดังนี้
หลักการทำงานของถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะ
เมื่อนำถังขยะมาวางไว้ที่มุมได้มุมหนึ่งในห้องและมีคนเดินผ่านถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะก็จะทำการตรวจจับความร้อนของคนในรัศมี 15 เซนติเมตรถังขยะก็จะเปิดปิดอัตโนมัติ


วัสดุอุปกรณ์
1. ชุดวงจรเซนเซอร์ 2. หนังสือ
3. กาว 4. มอเตอร์
5. สายไฟ 6. ลวด
7. คีม 8. สีสเปรย์
9.หัวแล้ง 10. ถังน้ำ
13.ตะกั่ว 14. แผ่นภัพ
15.น๊อต 16.มือดึง
11.ก๋วยตาห่าง 12.ตอกสาน


วิธีทำ
1.เตรียมอุปกรณ์
2.นำหนังสือพิมพ์มาตัดเป็นชิ้นเล็กๆ
3.นำหนังสือพิมพ์ที่ตัดแล้วมาแช่น้ำที่เดรียมไว้
4.นำหนังสือพิมพ์กับกาวมาผสมกันให้เหนียว
5.จากนั้นนำหนังสือพิมพ์ที่ผสมกาวแล้วนำมาปั้นเป็นถังขยะ
6. ทำการปันฝาถังขยะ
7.นำถังขยะกับฝาถังขยะมาตากแดดทึ้งไวประมาณหนึ่งอาทิตย์
8.จากนั้นนำถังมาพ่นสีรองพื้น
9.นำสีมาพ่นฝาถัง
10.นำถังขยะและฝาถังไปตากแดดไว้1-2 ชม.
11.นำแผ่นภัพมาติดกับฝาถังขยะ
12.นำมือดึงมาติดกับฝาถังขยะ
13.นำชุดวงจรเซนเซอร์กับมอเตอร์มาติดกับถังที่เราปั้นไว้
14.ทำการทดลอง

ศึกษาแนวทาง
แนวทางในการออกแบบของถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะได้วางแนวทาง ดังนี้
1. ใช้ถังขยะที่ประดิษฐ์ขึ้นมา 1 ถัง
2. ใช้ตัวเซนเซอร์ความร้อน 1 ตัวเพื่อใช้จับความร้อน
3. ใช้มอเตอร์เพื่อควบคุมการทำงานของตัวเซนเซอร์
4. ใช้มอเตอร์เพื่อใช้ในการเปิดปิด






3.ดำเนินการออกแบบตามแนวที่ดำเนินไว้
ถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะได้ออกแบบตามแนวทางที่วางแผน ดังนี้


รูปที่ 3.1 ข้างซ้าย




รูปที่ 3.2 ด้านขวา


รูปที่ 3.3 ด้านหน้า





รูปที่ 3.5ด้านบน

รูปที่ 3.4 ด้านหลัง

4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
วิธีการดำเนินงาน

1.นำหนังสือพิมพ์มาตัดเป็นชิ้นเล็กๆ

รูปที่ 3.5 การเตรียมอุปกรณ์



2.นำหนังสือพิมพ์ที่ตัดแล้วมาแช่น้ำที่เดรียมไว้


รูปที่ 3.6 การเตรียมอุปกรณ์



3.นำหนังสือพิมพ์กับกาวมาผสมกันให้เหนียว


รูปที่ 3.7 การเตรียมอุปกรณ์






4.จากนั้นนำหนังสือพิมพ์ที่ผสมกาวแล้วนำมาปั้นเป็นถังขยะ


รูปที่ 3.8 การเตรียมอุปกรณ์




5.ทำการปันฝาถังขยะ


รูปที่ 3.9 การเตรียมอุปกรณ์




6.นำถังขยะกับฝาถังขยะมาตากแดดทึ้งไวประมาณหนึ่งอาทิตย์


รูปที่ 3.10 การเตรียมอุปกรณ์


6.จากนั้นนำถังมาพ่นสีรองพื้น


รูปที่ 3.11 การเตรียมอุปกรณ์






7.นำสีมาพ่นฝาถัง


รูปที่ 3.12 การเตรียมอุปกรณ์


8.นำถังขยะและฝาถังไปตากแดดไว้1-2 ชม.


รูปที่ 3.13การเตรียมอุปกรณ์




9.นำแผ่นภัพมาติดกับฝาถังขยะ


รูปที่ 3.14 การเตรียมอุปกรณ์


10.นำมือดึงมาติดกับฝาถังขยะ


รูปที่ 3.15 การเตรียมอุปกรณ์



11.นำชุดวงจรเซนเซอร์กับมอเตอร์มาติดกับถังที่เราปั้นไว้
12..ทำการทดลอง

5.ทดสอบและปรับปรุง
ทดสอบ
1.ทดสอบระบบการทำงานเดิมของถังขยะเซนเซอร์
2.ทดสอบเซนเซอร์ความร้อน
3.ทดสอบการทำงานของมอเตอร์






ปรับปรุง
1.จากการทดสอบระบบการทำงานเติมของถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะทำให้ทราบว่า การทำงานของเซนเซอร์ไม่ได้ทำงานแบบอัตโนมัติ จึงต้องทำการปรับการทำงานของระบบของถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะให้เป็นอัตโนมัติ
2.จากการทดสอบเซนเซอร์ความร้อนทำให้ทราบว่า การทำงานของเซนเซอร์ความร้อนต้องมีระดับรัศมี 15เซนติเมตร จึงต้องทำการปรับการทำงานของเซนเซอร์ให้อยู่ในระดับ 15 เซนติเมตรให้เซนเซอร์ทำงานได้อย่างอัตโนมัติ
3.จากการทดสอบมอเตอร์ ทำให้ทราบว่า การทำงานไม่สมบูรณ์เนื่องจากมอเตอร์ ยังไม่มีการควบคุมการทำงาน จึงต้องปรับการทำงานโดยใช้วงจรเซนเซอร์มาช่วยในการทำงานด้วย

6.การประเมินโครงงาน

ในการทำโครงงานถังขยะรีไซเคิลอัจฉริยะได้ใช้แบบประเมินโครงการดังนี้
1.แบบประเมินขณะทำโครงการ
2.แบบประเมินนำเสนอผลงาน
3.แบบประเมินผลงานโดยรวม
4.แบบประเมินการเขียนและนำเสนอเค้าโครงโครงงาน
5.แบบประเมินรูปเล่มรายงาน
6.แบบประเมินการแก้ไขโครงงาน
7.แบบสรุปคะแนนรวม
8.แบบประเมินการจัดแสดงโครงงาน

7. นำเสนอโครงงาน
วันพฤหัสบดี ที่ 1 เดือน กรกฎาคม พ.ศ.2553
วันที่อังคาร ที่ 3 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2553

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น